พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
พระเชตุพลหน้าโห...
พระเชตุพลหน้าโหนก สุโขทัย
พระเชตุพลหน้าโหนก สุโขทัย
พระกรุ วัดเชตุพน จ.สุโขทัย อายุ 700 ปี ของดีที่น่าสะสม
"พระเชตุพน" เป็นนามพระอารามเก่าแก่ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในสมัยพุทธกาล เป็นคำที่แผลงมาจาก "เชตวันมหาวิหาร" พระพุทธเจ้าโปรดที่นี่มาก จะเห็นได้ว่าเสด็จประทับจำพรรษา ณ ที่นี้รวมแล้วถึง 19 พรรษา ในจำนวน 45 พรรษา แห่งการบำเพ็ญพุทธกิจของพระองค์ วัดนี้อนาถปิณฑิกมหาเศรษฐีสร้างถวายเป็นพุทธบูชา เดิมทีเป็นสวนอันน่ารื่นรมย์ของเจ้าเชต เมื่อคราอนาถปิณฑิกเศรษฐีได้เดินทางไปเมืองราชคฤห์ และพบพระพุทธองค์เป็นครั้งแรกที่สีตวัน ได้ฟังธรรมแล้วปฏิญาณตนเป็นอุบาสก ได้กราบทูลเชิญให้พระพุทธองค์เสด็จสาวัตถี


ครั้นเมื่อกลับไปเมืองแล้ว ก็พยายามแสวงหาที่อันเหมาะสม เพื่อสร้างเป็นอารามถวายพระพุทธเจ้าจนได้สถานที่อันถูกใจ ได้ติดต่อขอซื้อจากเจ้าเชต แต่ในครั้งแรกเจ้าเชตไม่ยอมขายให้ เมื่อถูกรบเร้าเจ้าเชตก็แกล้งโก่งราคาว่า ถ้าเศรษฐีสามารถเอาแผ่นทองคำมาปูเต็มเนื้อที่สวนได้ก็จะขายให้เท่ามูลค่าของราคาทองคำนั้น คือ แกล้งพูดไปอย่างที่ไม่คิดจะขาย แต่อนาถปิณฑิกนั้นตอบตกลง เจ้าเชตจึงยอมจำนนขายให้อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ตามที่ได้ลั่นวาจาไว้ เมื่ออนาถปิณฑิกเศรษฐีซื้อสถานที่ได้แล้วก็จัดการสร้างพระอาราม ประกอบด้วยเสนาสนะและพุทธวิหารมากมาย ทำพิธีถวายสงฆ์และมีการเฉลิมฉลองอย่างเอิกเกริกยิ่ง ภายในบริเวณเชตวันมหาวิหาร มีผู้มาร่วมสมทบสร้างเสนาสนะถาวรวัตถุอีกมากมาย เหนือซุ้มประตูทางเข้าพระเชตวัน ได้มีการสร้างสถูปบรรจุอัฐิของพระสารีบุตร และพระโมคคัลลานะไว้เป็นที่สักการะของสัตบุรุษทั่วไปด้วย

เมื่อพระพุทธศาสนาเข้าไปตั้งมั่นอยู่ประเทศต่าง ๆ นับแต่สมัยพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งอินเดีย ทรงส่งพระมหาเถระเข้าไปประกาศพุทธศาสนาเป็นต้นมา ในแต่ละประเทศนั้น ก็ได้คตินิยมตั้งวัดเชตวันตามคติแบบอย่างครั้งสมัยพุทธกาล โดยในสยามประเทศเองนั้น เมื่อครั้งสุโขทัยเป็นราชธานี พระเจ้ารามคำแหงมหาราชก็ทรงอาราธนาพระสังฆราชสายลังกาวงศ์มาแต่เมืองนครศรีธรรมราช ทั้งทรงบำรุงพระพุทธศาสนาเป็นอย่างดี ในสมัยสุโขทัยนี้ มีการสถาปนาวัดต่าง ๆ ขึ้นมากมาย เช่น วัดมหาธาตุ, วัดศรีสวาย, วัดตระพังเงิน, วัดตระพังทอง, วัดชนะสงคราม, วัดป่ามะม่วง, วัดสระศรี, วัดพระพายหลวง, วัดศรีชุม, วัดตะพานหิน, วัดพระบาทน้อย, วัดเจดีย์งาม, วัดเจดีย์สูง, วัดช้างล้อม, วัดเจดีย์สี่ห้อง, วัดสรศักดิ์ รวมถึงวัดพระเชตุพนตามคตินิยม เลียนแบบวัดเชตวันเมื่อครั้งสมัยพุทธกาล

วัดพระเชตุพน (แผลงมาจากเชตวัน) มีคูล้อมรอบ นอกกำแพงเมืองมีคูก่ออิฐ มีมณฑปเป็นหลักของวัด กว้าง 8 เมตร ยาว 14 เมตร ยังเหลือแต่ผนังด้านหลัง ที่ผนังนั้นมีพระพุทธรูปปางลีลาปูนปั้นขนาดใหญ่อยู่ด้านหน้า และพระพุทธรูปยืนอยู่ด้านหลัง ด้านข้าง 2 ข้างพังทลายไม่เห็นร่องรอยมีประตูและกำแพงหินชนวนแท่งสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่โดยรอบหลังมณฑปใหญ่ออกไปมีมณฑปเล็ก ซึ่งตามซุ้มยังมีร่องรอยของภาพเขียนปรากฏอยู่ ด้านหน้ามณฑปใหญ่ มีวิหาร 6 ห้องนับเป็นวัดสำคัญวัดหนึ่ง สร้างมาก่อน พ.ศ. 1955 เพราะในจารึกวัดสรศักดิ์ที่สร้างเมื่อ พ.ศ. 1955 มีกล่าวถึงชื่อวัดนี้แล้ว

พุทธศิลป์ของพระเชตุพน เป็นศิลปะของสมัยสุโขทัยเป็นราชธานีซึ่งในยุคนั้นเป็นยุคที่พุทธศาสนารุ่งเรื่องเป็นอย่างยิ่งสมัยนั้นไพร่ฟ้าประชาชนหรือแม้แต่องค์พระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์พระร่วงต่างมีจิตใจเลื่อมใสในพระพุทธศาสนากันมากกว่ายุคอื่นๆดังนั้น พระเครื่องที่สร้างในสมัยสุโขทัยอันเป็นสมัยที่พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองจึงนับว่าเป็นพระเครื่องที่สูงส่งคุณค่าเป็นอย่างยิ่งควรค่าแก่การสะสม

พิมพ์ฐานสูงเนื้อดิน
ลักษณะของพระเชตุพน เป็นพระเครื่องขนาดเล็กประมาณปลายนิ้วก้อย รูปทรงสัณฐานเป็นลักษณะสามเหลี่ยม องค์พระประทับนั่งสมาธิราบ องค์ที่สวยๆจะปรากฏรายละเอียดของสัดส่วนกายวิภาค ไม่ว่าจะเป็นใบหน้า ตา จมูก ปาก หู คิ้ว ไรผม ไหล่ แขน จะเห็นได้ชัดเจน แต่องค์ที่ไม่ค่อยสวยหรือสึกเพราะผ่านการใช้ไปบ้างแล้ว รายละเอียดเหล่านี้ก็จะลบเลือนหายไป ถึงแม้ว่ารายละเอียดเหล่านี้จาจจะสึกหรือลบเลือนไปก็จริงแต่ลักษณะของลำพระองค์จะดูชัดเจน เห็นแล้วจะเกิดความซาบซึ้งในพุทธประติมากรรม ยิ่งพระเชตุพนเป็นพระกรุที่มีขนาดเล็กและมีรายละเอียดปรากฎให้เห็นก็จะยิ่งเพิ่มความซึ้งในพุทธศิลปให้ยิ่งขึ้นไปอีก ไม่เชี่อท่านเจอพระเชตุพนสักองค์หนึ่งก็ลองเอากล่องส่องดู พุทธศิลป์ขององค์พระ

พระเชตุพนถูกขุดขึ้นมาจากกรุเมื่อหลายสิบปีมาแล้วที่วัดเชตุพน ซึ่งเป็นวัดเก่าแก่สมัยกรุงสุโขทัย สมัยนั้นมีคนลักลอบขุดกรุเพื่อหาทรัพย์สมบัติตามวัดเก่าๆ กันมาก พระเจดีย์ใต้ฐานพระประธาน บริเวณวัดหรือแม้แต่ตามองค์พระที่มีขนดใหญ่ก็จะถูกเจาะขุดเพื่อหาของมีค่าไม่ยกเว้น นับว่าเป็นการทำลายศาสนวัตถุไปอย่างน่าเสียดายของผู้ที่ไม่กลัวบาปกรรมพระเชตุพนแล้วยังมีการขุดพบที่เขาพนมเพลิงอีกด้วย แต่เป็นการขุดได้จากบริเวณในเขตของจังหวัดสุโขทัย จึงมักมีการเรียกสร้อย ห้อยท้าย พระเชตุพนไปด้วยเสมอๆว่า “พระเชตุพนสุโขทัย” แต่ว่าในเขตจังหวัดกำแพงเพชรก็เคยมีพระขึ้นจากกรุ แล้วมีลักษณะคล้ายๆกันกับพระเชตุพนสุโขทัยเหมือนกัน แต่เรียกกันว่า “พระกำแพงหน้าโหนก” เพราะพระกรุของเมืองกำแพงเพชรมักจะมีการเรียกว่าพระกำแพงนำหน้าเสมอ
ผู้เข้าชม
11207 ครั้ง
ราคา
xxxx
สถานะ
เปิดให้บูชา
โดย
ชื่อร้าน
มะกะระ พระกรุ
ร้านค้า
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
0818306399
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
244-0-006xx-x

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
นรินทร์ ทัพไทยErawanโก้ สมุทรปราการหมอเสกโคราชkaew กจ.เปียโน
หริด์ เก้าแสนนานาอ้วนโนนสูงภูมิ IRBeerchang พระเครื่องvaravet
เจนพระเครืองโกหมูLe29AmuletKoonThong_Amuletsเจริญสุขtermboon
ยิ้มสยาม573somemanPaphon07พีพีพระเครื่องchathanumaanAchi
somphopอี๋ ล็อคเกตfuchoo18บี บุรีรัมย์Chobdoysata chaithawat

ผู้เข้าชมขณะนี้ 1133 คน

เพิ่มข้อมูล

พระเชตุพลหน้าโหนก สุโขทัย



  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
พระเชตุพลหน้าโหนก สุโขทัย
รายละเอียด
พระเชตุพลหน้าโหนก สุโขทัย
พระกรุ วัดเชตุพน จ.สุโขทัย อายุ 700 ปี ของดีที่น่าสะสม
"พระเชตุพน" เป็นนามพระอารามเก่าแก่ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในสมัยพุทธกาล เป็นคำที่แผลงมาจาก "เชตวันมหาวิหาร" พระพุทธเจ้าโปรดที่นี่มาก จะเห็นได้ว่าเสด็จประทับจำพรรษา ณ ที่นี้รวมแล้วถึง 19 พรรษา ในจำนวน 45 พรรษา แห่งการบำเพ็ญพุทธกิจของพระองค์ วัดนี้อนาถปิณฑิกมหาเศรษฐีสร้างถวายเป็นพุทธบูชา เดิมทีเป็นสวนอันน่ารื่นรมย์ของเจ้าเชต เมื่อคราอนาถปิณฑิกเศรษฐีได้เดินทางไปเมืองราชคฤห์ และพบพระพุทธองค์เป็นครั้งแรกที่สีตวัน ได้ฟังธรรมแล้วปฏิญาณตนเป็นอุบาสก ได้กราบทูลเชิญให้พระพุทธองค์เสด็จสาวัตถี


ครั้นเมื่อกลับไปเมืองแล้ว ก็พยายามแสวงหาที่อันเหมาะสม เพื่อสร้างเป็นอารามถวายพระพุทธเจ้าจนได้สถานที่อันถูกใจ ได้ติดต่อขอซื้อจากเจ้าเชต แต่ในครั้งแรกเจ้าเชตไม่ยอมขายให้ เมื่อถูกรบเร้าเจ้าเชตก็แกล้งโก่งราคาว่า ถ้าเศรษฐีสามารถเอาแผ่นทองคำมาปูเต็มเนื้อที่สวนได้ก็จะขายให้เท่ามูลค่าของราคาทองคำนั้น คือ แกล้งพูดไปอย่างที่ไม่คิดจะขาย แต่อนาถปิณฑิกนั้นตอบตกลง เจ้าเชตจึงยอมจำนนขายให้อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ตามที่ได้ลั่นวาจาไว้ เมื่ออนาถปิณฑิกเศรษฐีซื้อสถานที่ได้แล้วก็จัดการสร้างพระอาราม ประกอบด้วยเสนาสนะและพุทธวิหารมากมาย ทำพิธีถวายสงฆ์และมีการเฉลิมฉลองอย่างเอิกเกริกยิ่ง ภายในบริเวณเชตวันมหาวิหาร มีผู้มาร่วมสมทบสร้างเสนาสนะถาวรวัตถุอีกมากมาย เหนือซุ้มประตูทางเข้าพระเชตวัน ได้มีการสร้างสถูปบรรจุอัฐิของพระสารีบุตร และพระโมคคัลลานะไว้เป็นที่สักการะของสัตบุรุษทั่วไปด้วย

เมื่อพระพุทธศาสนาเข้าไปตั้งมั่นอยู่ประเทศต่าง ๆ นับแต่สมัยพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งอินเดีย ทรงส่งพระมหาเถระเข้าไปประกาศพุทธศาสนาเป็นต้นมา ในแต่ละประเทศนั้น ก็ได้คตินิยมตั้งวัดเชตวันตามคติแบบอย่างครั้งสมัยพุทธกาล โดยในสยามประเทศเองนั้น เมื่อครั้งสุโขทัยเป็นราชธานี พระเจ้ารามคำแหงมหาราชก็ทรงอาราธนาพระสังฆราชสายลังกาวงศ์มาแต่เมืองนครศรีธรรมราช ทั้งทรงบำรุงพระพุทธศาสนาเป็นอย่างดี ในสมัยสุโขทัยนี้ มีการสถาปนาวัดต่าง ๆ ขึ้นมากมาย เช่น วัดมหาธาตุ, วัดศรีสวาย, วัดตระพังเงิน, วัดตระพังทอง, วัดชนะสงคราม, วัดป่ามะม่วง, วัดสระศรี, วัดพระพายหลวง, วัดศรีชุม, วัดตะพานหิน, วัดพระบาทน้อย, วัดเจดีย์งาม, วัดเจดีย์สูง, วัดช้างล้อม, วัดเจดีย์สี่ห้อง, วัดสรศักดิ์ รวมถึงวัดพระเชตุพนตามคตินิยม เลียนแบบวัดเชตวันเมื่อครั้งสมัยพุทธกาล

วัดพระเชตุพน (แผลงมาจากเชตวัน) มีคูล้อมรอบ นอกกำแพงเมืองมีคูก่ออิฐ มีมณฑปเป็นหลักของวัด กว้าง 8 เมตร ยาว 14 เมตร ยังเหลือแต่ผนังด้านหลัง ที่ผนังนั้นมีพระพุทธรูปปางลีลาปูนปั้นขนาดใหญ่อยู่ด้านหน้า และพระพุทธรูปยืนอยู่ด้านหลัง ด้านข้าง 2 ข้างพังทลายไม่เห็นร่องรอยมีประตูและกำแพงหินชนวนแท่งสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่โดยรอบหลังมณฑปใหญ่ออกไปมีมณฑปเล็ก ซึ่งตามซุ้มยังมีร่องรอยของภาพเขียนปรากฏอยู่ ด้านหน้ามณฑปใหญ่ มีวิหาร 6 ห้องนับเป็นวัดสำคัญวัดหนึ่ง สร้างมาก่อน พ.ศ. 1955 เพราะในจารึกวัดสรศักดิ์ที่สร้างเมื่อ พ.ศ. 1955 มีกล่าวถึงชื่อวัดนี้แล้ว

พุทธศิลป์ของพระเชตุพน เป็นศิลปะของสมัยสุโขทัยเป็นราชธานีซึ่งในยุคนั้นเป็นยุคที่พุทธศาสนารุ่งเรื่องเป็นอย่างยิ่งสมัยนั้นไพร่ฟ้าประชาชนหรือแม้แต่องค์พระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์พระร่วงต่างมีจิตใจเลื่อมใสในพระพุทธศาสนากันมากกว่ายุคอื่นๆดังนั้น พระเครื่องที่สร้างในสมัยสุโขทัยอันเป็นสมัยที่พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองจึงนับว่าเป็นพระเครื่องที่สูงส่งคุณค่าเป็นอย่างยิ่งควรค่าแก่การสะสม

พิมพ์ฐานสูงเนื้อดิน
ลักษณะของพระเชตุพน เป็นพระเครื่องขนาดเล็กประมาณปลายนิ้วก้อย รูปทรงสัณฐานเป็นลักษณะสามเหลี่ยม องค์พระประทับนั่งสมาธิราบ องค์ที่สวยๆจะปรากฏรายละเอียดของสัดส่วนกายวิภาค ไม่ว่าจะเป็นใบหน้า ตา จมูก ปาก หู คิ้ว ไรผม ไหล่ แขน จะเห็นได้ชัดเจน แต่องค์ที่ไม่ค่อยสวยหรือสึกเพราะผ่านการใช้ไปบ้างแล้ว รายละเอียดเหล่านี้ก็จะลบเลือนหายไป ถึงแม้ว่ารายละเอียดเหล่านี้จาจจะสึกหรือลบเลือนไปก็จริงแต่ลักษณะของลำพระองค์จะดูชัดเจน เห็นแล้วจะเกิดความซาบซึ้งในพุทธประติมากรรม ยิ่งพระเชตุพนเป็นพระกรุที่มีขนาดเล็กและมีรายละเอียดปรากฎให้เห็นก็จะยิ่งเพิ่มความซึ้งในพุทธศิลปให้ยิ่งขึ้นไปอีก ไม่เชี่อท่านเจอพระเชตุพนสักองค์หนึ่งก็ลองเอากล่องส่องดู พุทธศิลป์ขององค์พระ

พระเชตุพนถูกขุดขึ้นมาจากกรุเมื่อหลายสิบปีมาแล้วที่วัดเชตุพน ซึ่งเป็นวัดเก่าแก่สมัยกรุงสุโขทัย สมัยนั้นมีคนลักลอบขุดกรุเพื่อหาทรัพย์สมบัติตามวัดเก่าๆ กันมาก พระเจดีย์ใต้ฐานพระประธาน บริเวณวัดหรือแม้แต่ตามองค์พระที่มีขนดใหญ่ก็จะถูกเจาะขุดเพื่อหาของมีค่าไม่ยกเว้น นับว่าเป็นการทำลายศาสนวัตถุไปอย่างน่าเสียดายของผู้ที่ไม่กลัวบาปกรรมพระเชตุพนแล้วยังมีการขุดพบที่เขาพนมเพลิงอีกด้วย แต่เป็นการขุดได้จากบริเวณในเขตของจังหวัดสุโขทัย จึงมักมีการเรียกสร้อย ห้อยท้าย พระเชตุพนไปด้วยเสมอๆว่า “พระเชตุพนสุโขทัย” แต่ว่าในเขตจังหวัดกำแพงเพชรก็เคยมีพระขึ้นจากกรุ แล้วมีลักษณะคล้ายๆกันกับพระเชตุพนสุโขทัยเหมือนกัน แต่เรียกกันว่า “พระกำแพงหน้าโหนก” เพราะพระกรุของเมืองกำแพงเพชรมักจะมีการเรียกว่าพระกำแพงนำหน้าเสมอ
ราคาปัจจุบัน
xxxx
จำนวนผู้เข้าชม
11277 ครั้ง
สถานะ
เปิดให้บูชา
โดย
ชื่อร้าน
มะกะระ พระกรุ
URL
เบอร์โทรศัพท์
0813116011
ID LINE
0818306399
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงเทพ / 244-0-006xx-x




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี